วันพุธที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

การเขียนบรรณานุกรม

1. การเขียนบรรณานุกรมจากสารนิเทศบนเว็บไซต์
วิกิพีเดีย  สารารุกรมเสรี. (2554). เฟซบุ๊ค.
              ค้นหาเมื่อ 19 พฤษภาคม 2554, จาก http://th.wikipedia.org/wiki/เฟซบุ๊ค


2. การเขียนบรรณานุกรมจากสารนิเทศประเภทหนังสือ
มาโนช  ดินลานสกูล. (2547). การอ่านและการเขียนบันเทิงคดี
           
3.  การเขียนบรรณานุกรมจากสารนิเทศประเภทสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง
บวรศิลป์  เชาว์ชื่น, ฉัตรชัย  เธียรหิรัญ, สิทธิชัย  บุตรมั่น, พิเชฐ  จิระประเสริฐวงศ์,
                มณฑาทิพย์  ไชยศักดิ์, อัญชลี  ไชยสัจ และคณะ. (2549). ตัวอย่างที่ดีของ
            มหาลัยแห่งการวิจัยวารสารการประกัน  คุณภาพ,  7(1).  23.

วันอังคารที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

งานประเมินเว็บไซต์

ชื่อเว็บ: http://www.facebook.com/
1. ผู้แต่ง : 
ตอบ :     มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก  (Mark Elliot Zuckerberg)  มีเชื้อสาย ยิว - อเมริกัน 
 เกิดเมื่อวันที่ ๑๔  พฤษภาคม  ๒๕๒๗  (ปัจจุบัน อายุ ๒๖ ปี) เติบโตในย่าน  Dobbs Ferry 
 นิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา 
2.วัตถุประสงค์: 
ตอบ: เพื่อให้บุคคลที่เป็นสมาชิกได้รับทราบข้อมูลข่าวสารในกลุ่มของตน และยังสามารถทำให้รู้จักกับเพื่อนที่เป็นสมาชิกคนอื่นๆได้อีกด้วย
3 ผู้ชมหรือผู้ใช้งาน : 
ตอบ: สมาชิกเท่านั้นที่จะสามารถเข้ายังระบบได้
4.เผยแพร่:
ตอบเปิดตัวในปี พ.ศ. ๒๕๔๗ 
5.ภาพรวมของเว็บไซต์:
ตอบ:เป็นเว็บไซต์ที่ใช้ติดต่อสือสารกันระหว่างกลุ่มเพื่อนและเป็นเว็บไซต์ทั่วไปสามารถสมัครสมาชิกได้ทุกเพศทุกวัย 

วันพฤหัสบดีที่ 28 เมษายน พ.ศ. 2554

งานประเมินเว็บไซต์

ชื่อเว็บ: http://www.facebook.com/


1 ผู้แต่ง : ผู้เขียนหน้าเว็บ บุคคลที่เป็นผู้มีอำนาจในหัวข้อ และข้อมูลประจำตัวของผู้เขียนเว็บไซต์ตอบ:           มาร์ก ซักเคอร์เบิร์ก  (Mark Elliot Zuckerberg)  มีเชื้อสาย ยิว - อเมริกัน  เกิดเมื่อวันที่ ๑๔  พฤษภาคม  ๒๕๒๗  (ปัจจุบัน อายุ ๒๖ ปี) เติบโตในย่าน  Dobbs Ferry  นิวยอร์ก, สหรัฐอเมริกา  

    เข้าศึกษาระดับมัธยมที่ Ardsley High School และจบมัธยมปลาย ที่ Phillips Exeter Academy ในปี  ๒๕๔๕ 
   สมัยเรียนไฮสกูล  ซักเคอร์เบิร์กหัดเป็นโปรแกรมเมอร์ ตั้งแต่อยู่ ชั้น  ป. ๖  เขากับเพื่อนสร้าง  โปรแกรมสำหรับเรียนรู้นิสัยการฟังเพลงของ ผู้ใช้  Winamp  และ  MP3  และเปิดให้ดาวน์โหลดฟรีทางอินเตอร์เน็ต
 ซัคเกอร์เบิร์กเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยฮาร์เวิร์ด หยุดเรียนไปกลางคัน และกลับมาลงทะเบียนเรียนอีกครั้งในปี ๒๕๔๙  ที่ฮาร์เวิร์ด ซัคเกอร์เบิร์กเริ่มต้นโครงการวิจัยหรือโปรเจ็กต์ชิ้นแรกกับเพื่อนร่วมห้องArie Hasit ชื่อของโปรเจ็กต์นี้คือ oursematch เป็นบริการที่เปิดให้ นักศึกษาสามารถดูรายชื่อเพื่อนร่วมชั้นเรียนได้ 
 โปรเจ็กต์ต่อมาคือ Facemash.com เว็บไซต์โหวตรูปนักศึกษาฮาร์เวิร์ดว่าใครได้รับความนิยมชมชอบมากหรือน้อย แต่แล้วเมื่อโปรเจ็กต์ นี้ให้บริการจริงบนโลกออนไลน์เพียง ๔ ชั่วโมง มหาวิทยาลัยก็ลงดาบระงับ การใช้อินเทอร์เน็ตของซัคเกอร์เบิร์ก ด้วยข้อหาว่าโปรเจ็กต์นี้ของซัคเกอร์เบิร์กละเมิดนโยบายการใช้งานอินเทอร์เน็ตที่มหาวิทยาลัยกำหนดไว้
และเป็นภัยต่อระบบความปลอดภัยคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย